โครงการ “Young Webmaster Camp” รุ่นที่ 2
เอกสารประกอบการอบรม โครงการพัฒนาเว็บไซต์ระดับสาขาวิชา “Young Webmaster Camp” รุ่นที่ 2 มาตรฐานสื่อดิจิทัล คู่มือการพัฒนาเว็บไซต์ โปรแกรม XnVIEW โปรแกรม BeCyPDFMetaEdit
เอกสารประกอบการอบรม โครงการพัฒนาเว็บไซต์ระดับสาขาวิชา “Young Webmaster Camp” รุ่นที่ 2 มาตรฐานสื่อดิจิทัล คู่มือการพัฒนาเว็บไซต์ โปรแกรม XnVIEW โปรแกรม BeCyPDFMetaEdit
ศูนย์คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้บริการพริ้นต์เอกสารออนไลน์ สำหรับนักศึกษา โดยมีจุดให้บริการ ณ ห้องบริการอินเทอร์เน็ต ชั้น 1 อาคารทีปังกรรัศมีโชติ และโซนบริการคอมพิวเตอร์ อาคารหอสมุดและศูนย์สารสนเทศเฉลิมพระเกียรติ โดยมีขั้นตอนการใช้บริการดังนี้ อัตราค่าบริการ ขนาด A4 ขาว-ดำ แผ่นละ 75 สตางค์ ขนาด A4 สี แผ่นละ 5 บาท 1. การเข้าใช้งาน คลิกเลือกไอคอนของโปรแกรม ที่หน้าจอ ให้ลงชื่อเข้าใช้โดยใส่ User และ Passport เดียวกับ SRU Passport เมื่อเข้าสู่ระบบสำเร็จ ระบบจะแสดงจำนวนเงินคงเหลือ มุมขวาของหน้าจอ…
กีรติ อินทฤกษ์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ฝ่ายพัฒนาซอฟต์แวร์ พัฒนาระบบบันทึกการปฏิบัติงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (SRU i-Jobs) สำหรับ (SRU i-Jobs) มีหลักการทำงาน คือการบันทึกการปฏิบัติการงานของบุคลากรในสังนักวิทยบริการฯ ซึ่งจากเดิมมีการบันทึกลงสมุดบันทึกประจำวัน ซึ่งแบ่งกลุ่มผู้ใช้เป็น 3 กลุ่มได้แก่ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน สำหรับบันทึกการปฏิบัติงาน หัวหน้าฝ่าย ดูรายงานผลการปฏิบัติงานของทีมงานในฝ่ายนั้น ผู้บริหาร สามารถดูการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยงานได้ การใช้งาน เข้าไปที่เว็บไซต์ ijobs.sru.ac.th หน้าแรกของระบบ จะแสดงข่าวประชาสัมพันธ์ และกิจกรรมของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยดึงข้อมูลจากเว็บไซต์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (arit.sru.ac.th)1. กด "เข้าสู่ระบบ" http://ijobs.sru.ac.th/authen/signinโดยใช้ ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน เดียวกับ ระบบ e-Document เมื่อกรอก ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน…
หลังจาก Ransomware Wannacry (ไวรัสเรียกค่าไถ่) มาสร้างความวุ่นวายและกัวลใจต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์อยู่ระยะหนึ่ง วันนี้มี Ransomware ตัวใหม่ที่ชื่อว่า Petya ซึ่งจากรายงานของแหล่งข่าวจากที่ต่างๆ พบว่า Petya Ransomware นั้นซึ่งบางทีก็รู้จักในนาม Petwrap นั้นแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว ใช้หลักการเดียวกับตัว WannaCry คือช่องโหว่ Windows SMBv1 ซึ่งทำให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์กว่า 300,000 ระบบล่มอย่างรวดเร็ว คือ Petya นั้นเป็นแรนซั่มแวร์ที่ทำงานแตกต่างจากแรนซั่มแวร์ตัวอื่นตรงที่มันจะไม่เข้ารหัสไฟล์บนเครื่องเป้าหมาย แต่มันจะรีบูตเครื่องเหยื่อและทำการเข้ารหัสตัว MFT (Master file table) ในไดรฟ์ และทำการจัดการกับตัวบูตเรคคอร์ด (MBR) และป้องกันการเข้าถึงระบบจากทุกทางโดยการยึดข้อมูลเกี่ยวกับทุกอย่างบนดิสก์ไม่ว่าจะเป็นชื่อไล์, ขนาด และตำแหน่ง วิธีป้องกัน ตัดการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (LAN และ WiFi)…
ร่าง นโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี พ.ศ.๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้จัดทำนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ ขึ้นเพื่อให้มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีมีแนวทางปฏิบัติในการควบคุมการปฏิบัติงาน และรักษาความปลอดภัยด้านระบบสารสนเทศ และเพื่อให้สอดคล้องตามพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 ซึ่งประกอบด้วยแนวนโยบายและแนวปฏิบัติต่างๆ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ปฏิบัติงานต้องถือปฏิบัติเพื่อให้เกิดความมั่นคงปลอดภัยในการขับเคลื่อนพันธกิจ และการให้บริการต่างๆ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อีกทั้งยังเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้บริการ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วนทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับมหาวิทยาลัยต่อไป ดาวน์โหลดเอกสาร ร่าง นโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี พ.ศ.๒๕๖๑ [PDF File] คำสั่งแต่งตั้งตั้งกรรมการกำหนดนโบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี [PDF File]
พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 เป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการกำหนดหลักเกณฑ์ให้การดำเนินงานใด ๆ ที่เกี่ยวกับคำขอ การอนุญาต คำสั่งทางปกครอง การชำระเงิน หรือการดำเนินงานต่าง ๆ ตามกฎหมายกับหน่วยงานของรัฐ หรือโดยหน่วยงานของรัฐ ถ้าได้กระทำในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาฯ กำหนด ให้ถือว่ามีผลโดยชอบด้วยกฎหมาย ดาวน์โหลดเอกสาร : พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 [PDF File]
SRU Passport คืออะไร? คือ รหัสผ่านสำหรับการใช้งานระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบสารสนเทศ ของมหาวิทยาลัย SRU Passport ได้มาได้อย่างไร? นักศึกษาจะต้องลงทะเบียน SRU Passport ในช่วงต้นของปีการศึกษาแรก และสามารถใช้ได้จนกระทั่งหมดสภาพการเป็นนักศึกษาของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี วิธีการลงทะเบียนและใช้งาน SRU Passport 1. ใช้งานเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย หากเป็นโทรศัพท์มือถือให้เข้าร่วมเครือข่าย SRU WiFi 2. เมื่อเข้าร่วมเครือข่ายแล้วจะมีหน้า Authentication ปรากฏดังภาพ 3. คลิกที่ปุ่ม register แล้วกรอกข้อมูลให้ถูกต้อง ได้แก่ รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล รหัสประจำตัวประชาชน เบอร์โทรศัพท์มือถือ โดยข้อมูลดังกล่าวจะต้องถูกต้องและตรงกับข้อมูลในระบบบริการการศึกษา แล้วกดตกลง ดังภาพ…
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายศูนย์คอมพิวเตอร์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มารู้จักกับมาตราฐานใหม่ของความละเอียดหน้าจอกัน 4K หรือ Ultra High Definition คือ มาตรฐานใหม่ของความละเอียดของ "จอภาพ" และ "คอนเทนต์" โดย K ย่อมาจาก Kilo ซึ่งเท่ากับ 1000 ดังนั้น 4K ก็หมายถึง 4000 นั่นเอง สำหรับความละเอียดหน้าจอสำหรับทีวี 4K แบบ Widescreen หมายถึงมีความละเอียด 3840 x 2160 พิกเซล…
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายศูนย์คอมพิวเตอร์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี MOOCs (มู้กส์) Massive Open Online Courses หมายถึง ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชน ซึ่งมีลักษณะให้เข้าเรียนได้ไม่จำกัดจำนวนคน เป็นระบบ “เปิด” ที่ทุกคนที่อยากเรียนจะต้องได้เรียน โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเรียน และใช้เทคโนโลยีออนไลน์เป็นเครื่องมือ https://youtu.be/eW3gMGqcZQc เทคโนโลยีนี้เริ่มต้นเมื่อปี 2008 เมื่อห้องเรียนในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เปิดให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าเรียนออนไลน์ ซึ่งนอกเหนือจากนักศึกษาในห้อง 25 คนแล้ว คนอีกนับพันคนก็ได้มีโอกาสได้เรียนรู้วิชานั้นด้วย เครื่องมือในการทำ MOOCs เป็นเทคโนโลยีธรรมดาๆ ที่เราคุ้ยเคยกันอยู่ เช่นเว็บไซต์ วิดีโอ บล็อก ฯลฯ เงื่อนไขในการใช้งานข้อมูล…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า