Skip to content

คลังความรู้สถาบันคืออะไร (IR: Institutional Repository)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายศูนย์คอมพิวเตอร์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี     คลังความรู้สถาบัน บ้างก็เรียกว่า คลังสารสนเทศสถาบัน บ้างก็เรียกคำภาษาอังกฤษว่า Institutional Repository หรือ Knowledge Repository แล้วที่จริงแล้ว คลังความรู้สถาบันคืออะไร        “แหล่งรวบรวม เผยแพร่ และสงวนรักษาผลผลิตทางปัญญาของบุคลากรในองค์กรในรูปแบบดิจิทัล เป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกับคลังสารสนเทศอื่นได้ โดยใช้มาตรฐานข้อมูลบรรณานุกรม Dublin Core และมาตรฐานการเก็บเกี่ยวเชื่อมโยงข้อมูล (OAI-PMH) (The World Bank Open Knowledge Repository : OKR)        “เป็นพื้นที่จัดเก็บข้อมูลที่มีรูปแบบหลากหลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความมั่งคั่งทางปัญญาของสถาบันการศึกษา เช่น…

Read more

วิธีป้องกันคอมพิวเตอร์จากไวรัสเรียกค่าไถ่ WannaCry

  วิธีป้องกัน ไม่เปิดเอกสารแนบอีเมล ลิงก์เว็บไซต์ ที่ไม่รู้จักหรือมีความเสี่ยง ควรตรวจสอบที่มาของไฟล์แนบให้แน่ใจ ก่อนเปิดอ่าน ปรับปรุงระบบปฏิบัติการหรือ OS ของระบบ Windows ให้เป็นเวอร์ชันล่าสุด ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส อัปเดตสม่ำเสมอ และสั่งสแกนบ่อย ๆ สำรองข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ แนะนำเป็น CD/DVD หากสงสัยว่าถูกซอฟต์แวร์เรียกค่าไถ่ฝังตัว ให้ยกเลิกการแชร์ไฟล์ และห้ามต่อไดร์ฟภายนอก โดยเด็ดขาด วิธีป้องกันเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยตนเองสำหรับผู้ใช้งาน Windows Vista, 7, 8 กดปุ่ม start แล้วพิมพ์ cmd จากนั้นคลิกขวาที่โปรแกรม cmd.exe เลือก run as administrator Copy คำสั่ง…

Read more

ระวังภัย มัลแวร์เรียกค่าไถ่ WannaCry แพร่กระจายผ่านช่องโหว่ของวินโดวส์ รีบอัปเดตทันที

สถานการณ์การโจมตี เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 บริษัท Avast ได้รายงานการแพร่ระบาดของมัลแวร์เรียกค่าไถ่ชื่อ WannaCry [1] โดยมัลแวร์ดังกล่าวมีจุดประสงค์หลักเพื่อเข้ารหัสลับข้อมูลในคอมพิวเตอร์เพื่อเรียกค่าไถ่ หากไม่จ่ายเงินตามที่เรียกจะไม่สามารถเปิดไฟล์ได้ สิ่งที่น่ากังวลเป็นพิเศษสําหรับมัลแวร์นี้คือความสามารถในการกระจายตัวเองจากเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ในเครือข่ายได้โดยอัตโนมัติ ผ่านช่องโหว่ระบบ SMB (Server Message Block) ของวินโดวส์ ผู้ใช้งานที่ไม่อัปเดตระบบปฏิบัติการวินโดวส์มีความเสี่ยงที่จะติดมัลแวร์นี้ ช่องโหว่ที่ถูกใช้ในการแพร่กระจายมัลแวร์เป็นช่องโหว่ที่ถูกเปิดเผยสู่สาธารณะตั้งแต่ช่วงเดือนเมษายน 2560 [2] และถึงแม้ทาง Microsoft จะเผยแพร่อัปเดตแก้ไขช่องโหว่ดังกล่าวไปตั้งแต่วันที่ 14 มีนาคม 2560 แล้ว [3] แต่ก็ยังพบว่าปัจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ยังไม่ได้อัปเดตแพตช์ดังกล่าวและถูกโจมตีจากมัลแวร์นี้มากกว่า 500,000 เครื่อง ใน 99 ประเทศ โดยเกิดผลกระทบสูงต่อหน่วยงานสาธารณสุขของประเทศอังกฤษ ในประเทศไทยพบผู้ติดมัลแวร์ตัวนี้อยู่บ้าง แต่ยังไม่พบการแพร่กระจายในวงกว้าง จากข้อมูลของ Microsoft ระบบปฏิบัติการที่มีช่องโหว่ในระบบ SMB…

Read more
Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save